โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) ๒
นางสาวสุพัจนา นามประดิษฐ์
ตำแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชำนาญการพิเศษ
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) ๒
ปีการศึกษา 2567
เว็บไซต์สำหรับเก็บผลงานประเมิน PA
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566
1.1 ชั่วโมงสอนตามตารางสอน รวมจำนวน 18 ชั่วโมง 16.67 นาที/สัปดาห์ ดังนี้
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย รายวิชา ภาษาไทย (ท23102) จำนวน 10 ชั่วโมง/สัปดาห์
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย รายวิชา ภาษาไทย (ท33102) จำนวน 5 ชั่วโมง/สัปดาห์
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
- กิจกรรมบำเพ็ญประโยชน์ / สาธารณประโยชน์ จำนวน 50 นาที/สัปดาห์
- กิจกรรมชุมนุม จำนวน 50 นาที/สัปดาห์
1.2 งานส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการเรียนรู้ จำนวน 8 ชั่วโมง/สัปดาห์
1.3 งานพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา จำนวน 16 ชั่วโมง/สัปดาห์
1.4 งานตอบสนองนโยบายและจุดเน้น จำนวน 2 ชั่วโมง/สัปดาห์
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2567
1.1 ชั่วโมงสอนตามตารางสอน รวมจำนวน 15 ชั่วโมง/สัปดาห์ ดังนี้
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย รายวิชา ภาษาไทย (ท23102) จำนวน 8.33 ชั่วโมง/สัปดาห์
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย รายวิชา ภาษาไทย (ท33102) จำนวน 5 ชั่วโมง/สัปดาห์
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
- กิจกรรมบำเพ็ญประโยชน์ / สาธารณประโยชน์ จำนวน 50 นาที/สัปดาห์
- กิจกรรมชุมนุม จำนวน 50 นาที/สัปดาห์
1.2 งานส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการเรียนรู้ จำนวน 8 ชั่วโมง/สัปดาห์
1.3 งานพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา จำนวน 12 ชั่วโมง/สัปดาห์
1.4 งานตอบสนองนโยบายและจุดเน้น จำนวน 2 ชั่วโมง/สัปดาห์
ประเด็นท้าทาย เรื่อง “ริเริ่มพัฒนาการคิดอย่างมีวิจารณญาณ โดยใช้แบบฝึกทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
เป้าหมายเชิงปริมาณ
โดยใช้แบบฝึกทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ
ทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ ภายหลังการเรียนรู้โดยใช้แบบฝึกทักษะ
การคิดอย่างมีวิจารณญาณสูงขึ้น
เป้าหมายคุณภาพ
เป้าหมายที่กำหนด
การคิดอย่างมีวิจารณญาณ
การคิดอย่างมีวิจารณญาณ ภายหลังการเรียนรู้โดยใช้
แบบฝึกทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณสูงขึ้น
มีการจัดทำรายวิชาและหน่วยการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้
และตัวชี้วัดหรือผลการเรียนรู้ตามหลักสูตร
ออกแบบหน่วยการเรียนรู้โดยการปรับประยุกต์ให้สอดคล้องกับบริบทของสถานศึกษา ท้องถิ่น และเหมาะกับผู้เรียน
จัดทำคำอธิบายรายวิชา และจัดทำโครงสร้างรายวิชามีกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญด้วยวิธีการปฏิบัติที่สอดคล้องกับธรรมชาติของสาระการเรียนรู้และสามารถ
นำไปปฏิบัติจริง
สร้างและพัฒนาเครื่องมือวัดและประเมินผลที่หลากหลาย และสอดคล้องกับมาตรฐาน การเรียนรู้ ตัวชี้วัด และหรือผลการเรียนรู้
ใช้กระบวนการวิจัยเพื่อแก้ปัญหาหรือพัฒนาการเรียนรู้ที่ส่งผลต่อ
คุณภาพผู้เรียน
2.1 จัดทำข้อมูลสารสนเทศของผู้เรียนและรายวิชา
มีการจัดทำข้อมูลสารสนเทศของผู้เรียนและรายวิชา เพื่อใช้ในการ
ส่งเสริมสนับสนุนการเรียนรู้และพัฒนาคุณภาพผู้เรียน
2.2 ดำเนินการตามระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
มีการใช้ข้อมูลสารสนเทศเกี่ยวกับผู้เรียนรายบุคคลและประสาน
ความร่วมมือกับผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง เพื่อพัฒนาและแก้ปัญหาผู้เรียน
2.3 ปฏิบัติงานวิชาการและงานอื่น ๆ ของสถานศึกษา
ร่วมปฏิบัติงานทางวิชาการ และงานอื่น ๆ ของสถานศึกษาเพื่อยกระดับคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา
2.4 ประสานความร่วมมือ
ผู้ปกครอง ภาคีเครือข่ายและหรือสถานประกอบการ
1) จัดประชุมผู้ปกครองชั้นเรียน ภาคเรียนละ 1 ครั้งเพื่อติดตามแก้ไขปัญหา
ช่วยเหลือนักเรียนอย่างต่อเนื่อง
2) มีการเยี่ยมบ้านนักเรียนทุกภาคเรียน เพื่อติดตามแก้ไขปัญหา ช่วยเหลือนักเรียนอย่างต่อเนื่อง
3.1 พัฒนาตนเอง
อย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง
พัฒนาตนเองอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง เพื่อให้มีความรู้ ความสามารถ ทักษะ โดยเฉพาะ
อย่างยิ่ง การใช้ภาษาไทยและภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีดิจิทัล
การเข้าร่วมอบรมและพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง
คลิกเพื่อดูเอกสารประกอบ
3.2 มีส่วนร่วมในการ
แลกเปลี่ยนเรียนรู้ทางวิชาชีพ
นำองค์ความรู้ที่ได้จากการเข้าร่วมชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ
เพื่อพัฒนาการจัดการเรียนรู้